บทที่ 3
วิธีดำเนินงานโครงงาน
วิธีดำเนินงานโครงงาน
วัสดุอุปกรณ์และวิธีดำเนินโครงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ คณะวิจัยได้เสนอรายละเอียดตามหัวข้อต่อไปนี้
1.
วัสดุและสารเคมีที่เกี่ยวข้อง
1.1 พืชที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่
1.1.1
ตำลึงทอง
ชื่อพื้นเมือง - เคือเขาชมน้อย
(เชียงใต้) , ดีงู (ใต้)
ชื่อวิทยาศาสตร์ - Heterostemma wallichii
Wight
วงศ์ - Asclepiadaceae
ลักษณะทั่วไป – พรรณไม้เลื้อย
1.1.2 ผักบุ้ง
ชื่อพื้นเมือง - ผักทอดยอด
ชื่อวิทยาศาสตร์ - Ipomoea
repyans Poir.I.aquatica Forsk.
วงศ์ - Convolvulaceae
ลักษณะทั่วไป – พรรณไม้ล้มลุกน้ำ
1.1.3 เฟื่องฟ้า
ชื่อพื้นเมือง - ดอกกระดาษ,
ดอกโคม (เหนือ), ตรุษจีน,
ดอกต่างใบ
ชื่อวิทยาศาสตร์ - Bougainvillea spectabilis
Wild-Sym. B.Speciosa Lindi.
วงศ์ - Nyctaginaceae
1.2 สารเคมีที่เกี่ยวข้อง
1.2.1 ยอดผักตำลึง
1.2.2 ยอดผักบุ้ง
1.2.3 ยอดเฟื่องฟ้า
1.2.4 น้ำ
2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
2.1 บีกเกอร์ขนาด 100 มิลลิลิตร จำนวน 3 ใบ
2.2 ขวดโหลขนาด 1500 มิลลิลิตร
จำนวน 3 ใบ
2.3 กระบอกตวงขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน 1 อัน
2.4 มีด จำนวน 1 ด้าม
2.5 ครกไม้ จำนวน 1 ครก
2.6 สากกะเบือไม้ จำนวน
1 อัน
2.7 ไม้บรรทัด
ความยาว 30 เซนติเมตรจำนวน 1 อัน
2.8
จานสำหรับปลูกถั่วเขียว จำนวน 3-5 ใบ
2.9 สำลี
3. วิธีการดำเนินการ
3.1
ขั้นตอนการเตรียมสาร
3.1.1
นำส่วนของยอดและลำต้นส่วนปลายของพืชที่ต้องการศึกษาปริมาณฮอร์โมนมาทำความสะอาดด้วยน้ำ
3.1.2
นำส่วนของยอดและลำต้นส่วนปลายของพืชมาหั่นด้วยมีดให้มีขนาดเล็กลงพอประมาณ
3.1.3
น้ำพืชที่หั่นเสร็จแล้วปริมาณ 200 กรัม มาตำด้วยครกไม้ให้สะเอียด
3.1.4
เมื่อเริ่มละเอียดให้เติมน้ำลงในปริมาณ 100 มิลลิกรัมในครกไม้ แล้วตำต่อให้เข้ากัน
3.1.5 นำน้ำที่ได้ไปใส่ไว้ในขวดโหล
3.1.6
ทำเช่นนี้จนได้น้ำจากพืชที่ต้องการจะศึกษาจนครบทุกชนิด
3.2 ขั้นตอนการทดลอง
3.2.1
นำเมล็ดถั่วเขียวไปใส่จานที่เตรียมไว้ จากนั้นนำสำสีปิดทับอีกชั้น
3.2.2
รดน้ำที่ได้จากขั้นตอนที่ 3.1 ลงบนสำลีของแต่ละจานทดลองให้เปียกพอประมาณ
3.2.3
สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น